ยิ น ดี ต้ อ น รั บ . . T o W e l C o m e

วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

แนวข้อสอบ เคมี

1.    แก๊สชนิดหนึ่งประกอบด้วยไนโตรเจนและออกซิเจน  จากการทดลองพบว่ามวลโมเลกุลชนิดนี้มี
         ค่าประมาณ  50   และมีปริมาณไนโตรเจนประมาณ  30% โดยมวลโมเลกุลของแก๊สชนิดนี้ประกอบ
         ด้วยออกซิเจนกี่อะตอม(ดูเฉลย)
          1.   1                     2.   2                     3.  3                               4.  4
2.    จากการวิเคราะห์สารประกอบ  Fe(SCN)3   .xH2O   พบว่ามีน้ำเป็นองค์ประกอบอยู่ร้อยละ  19  โดย มวล
         สารประกอบนี้มีกำมะถันร้อยละเท่าใด(ดูเฉลย)
                1.  11.26              2.  22.53                3.  33.80                         4.  45.07
3.    กรดซัลฟิวริก  49  g   มี  H ,  S  และ O อย่างละกี่อะตอม  ตามลำดับ(ดูเฉลย)
                1.  3.01  x 1022                 6.02 x1022                  1.2 x1023
                    2.   3.01 x 1022                 1.2 X1023                    6.02 x 1022
                3.   6.02 x1022                  3.01  x1022                 1.2 x   1023
                4.   6.02  x1022                 1.2  x1023                    3.01  x1022
4.     ในการวิเคราะห์ผักบุ้ง  100 g  พบว่ามีตะกั่ว 0.208  ส่วนในล้านส่วน  ผักบุ้งจำนวนนี้มีตะกั่วกี่อะตอม
( Pb= 207) (ดูเฉลย)
       1.    6.02  x 1014              2.   6.02 x 1016          3.   6.02 x 1020     4.   6.02 x 1022
5.    จากสูตรของ   NaClO3 ,  SiCl4 ,  CO2 ,  Li2CO3  จงเขียนสูตรของสารประกอบต่อไปนี้  เรียงตามลำดับ
         จากเจอร์เมเนียม   (IV)  โบรไมด์
         โซเดียมซิลิเคต
         ซิลิคอน  (IV)  ซัลไฟด์
         โพแทสเซียมโบรเมต(ดูเฉลย)
                  1.   GeBr2  ,  NaSiO3  ,  SiS3  ,  K2BrO3         2.   GeBr4 ,  Na2SiO4 ,  Si4S ,  KbrO3
                  3.   GeBr2 ,  Na2SiO4 ,  SiS2  ,  KbrO3           4.   GeBr4 ,  Na2SiO3 ,  SiS2 ,  KbrO3
6      สาร  X  5  g  ละลายในเบนซีน  20 g  สารละลายเดือดที่อุณหภูมิ  83.3C  จุดเดือดของ  X  และเบนซีน
เท่ากับ  300  และ 80.10C   ตามลำดับ  ถ้า  Kb   ของเบนซีนเท่ากับ  2.53C  X  มีมวลโมเลกุลเท่าใด
(ดูเฉลย)
1.   20                             2.   198                         3.   316                         4.   396
7.   น้ำเกลือซัลเฟตสูตร   MSO4.nH2O  หนัก 5.0 g  มาละลายในน้ำจนละลายหมด   แล้วเติมสารละลาย
       BaCl2  ลงไปมากเกินพอ  ปรากฏว่าเกิดปฏิกิริยาได้ตะกอน  BaSO4 หนัก  4.0 g  ถ้ามวลโมเลกุลของ
       MSO4   g   เท่ากับ  161.5  g.mol-1  n   มีค่าเท่าใด(ดูเฉลย)
         1.   4                               2.   5                              3.  6                             4.    7
8.       นักเคมีคนหนึ่งต้องการแยกเงินออกจากสารละลายที่ต้องการทิ้งซึ่งมี  AgNO3  เป็นส่วนใหญ่  เขาเติมสาร
ละลาย  BaCl2  เข้มข้น  0.5  mol.dm3  ลงไปทีละน้อยจนเกิดตะกอน   AgCl   สมบูรณ์  ปรากฏว่าใช้
BaCl2  ไป  24.0 cm3  ตะกอนที่ได้มี  Ag  หนักเท่าใด(ดูเฉลย)
1.   1.30  g                      2.   2.59 g                  3.   3.44 g                     4.  2.59  g
9.     H3PO4   สามารถแยกตัวให้โปรตอนได้  3  ขั้นตอน  จากค่า  K a ต่อไปนี้  ข้อสรุปใดผิด(ดูเฉลย)
          H3PO4     H+ + H2PO-4            Ka1   =    7.5  x 10-3
          H2PO4-         H+ + HPO2-4            Ka2   =    6.3 x 10-8
          HPO2-4     H+ + PO3-4               Ka3   =    4.0 x 10-13
1.   H3PO4  เป็นกรดแก่กว่า   H2PO-4  และ  HPO42-   ตามลำดับ
2.   สารละลาย  H3PO4   จะมีปริมาณ  H+ (หรือ  H3O+ )  มากกว่าไอออนชนิดอื่นๆ
              3.   H2PO4-  แสดงสมบัติเป็นได้ทั้งกรดและเบส
              4.   H3PO4  และ  H2PO4-  เป็นคู่กรด เบสกันเช่นเดียวกับ  H2PO4-  กับ  HPO42-  ดังนั้น  H3PO4 และ
                    HPO42- นับเป็นคู่กรด เบสกันได้
10.    เมื่อนำสารละลาย   A   B   C   และ   D  ความเข้มข้นเท่ากันไปทดสอบการเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส และ
         ความสามารถในการนำไฟฟ้าได้ข้อมูลดังนี้(ดูเฉลย)
  สารละลาย
สีกระดาษลิตมัส
ความสว่างของหลอดไฟ
A
ไม่เปลี่ยนแปลง
สว่างมาก
B
แดง -  น้ำเงิน
สว่างเล็กน้อย
C
น้ำเงิน -  แดง
สว่างมาก
D
ไม่เปลี่ยนสี
ไม่สว่างเลย

สารละลาย   A   B    C  และ  D   ในข้อใดเป็นไปได้
ข้อ
A
B
C
D
1.
MgCl2
NH4OH
H2SO4
C12H22O11
2.
NaCl
NaOH
C2H5OH
H2O
3.
KNO3
CH3COOH
KOH
NH4CN
4.
Na2Co3
NH4Cl
H2S
CH3OH